ตัววิ่ง

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบูรณาการกับวิชาคณิตศาสตร์ Intergration with Mathematics

วันอาทิตย์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558

ฟังก์ชันกำลังสอง

 กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
           ฟังก์ชันกำลังสอง  คือ  ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป  http://www.vcharkarn.com/userfiles/74451/1-4-2556%2014-17-42.pngเมื่อ  a,b,c  เป็นจำนวนจริงใดๆ  และ http://www.vcharkarn.com/userfiles/74451/1-4-2556%2014-31-23.pngลักษณะของกราฟของฟังก์ชันนี้ขึ้นอยู่กับค่าของ  a , b  และ  c  และเมื่อค่าของ  a  เป็นบวกหรือลบ    อ่านเพิ่มเติม



ฟังก์ชันเชิงเส้น

ฟังก์ชันเชิงเส้น   คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax+b เมื่อ a ,b เป็นจำนวนจริง และ http://www.vcharkarn.com/userfiles/74451/29-3-2556%2016-13-01.png กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นเส้นตรง  อ่านเพิ่มเติม 

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง

                ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง a ใดๆ เขียนแทนด้วย |a| หมายถึง ระยะทางจากจุด 0 จนถึงจุด บนเส้นจำนวน ตัวอย่างเช่น   อ่านเพิ่มเติม 

ระบบจำนวนจริง


เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ  ได้แก่
เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย  I
                   I = {1,2,3…}       อ่านเพิ่มเติม 

การให้เหตุผลแบบนิรนัย

                          การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด     อ่านเพิ่มเติม 

การให้เหตุผลแบบอุปนัย

 การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป    อ่านเพิ่มเติม



วันอาทิตย์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2558

สับเซต และเพาเวอร์เซต


สับเซต
บทนิยาม เซต A เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B และสามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ A B   อ่านเพิ่มเติม